ทุกคนมีสิทธิเข้าไปเขียนได้โดย วิธีเข้า ต้องเข้าgmail ก่อน แล้วถึงพิมพ์ ชื่อ url คือ thermostatnstru.blogspot.com หรือ พิมพ์ Blogger.com
แล้วเลือกเข้าไปไปเขียนหรือดูบล็อก
แจ้งเพื่อทราบ
สำหรับเนื่้อหาที่เป็นสติถิเชิงฟิสิกส์จะไม่แสดงวิธีหาสูตรให้เห็น แต่จะยกมาใช้เลยในกรณีการแจกแจง ของโบทซ์มาน แมกเวลล์โบทซ์มาน และ แมกเวลล์ สำหรับรายละเอียดให้ดูในเว็บไซต์ประกอบ ข้อสรุปกับเรื่องนี้คือ การแจกแจงของแมกเวลล์ และแมกเวลล์โบทซ์มานเป็นรากฐานของทฤษฎีจลน์ของแกส ส่วนการแจกแจงของโบทซ์มานให้ผลมีความสำคัญมากที่สุดทั้งหมดกับกลศาสตร์เชิงสถิติ เปิดอ่านและทำแบบฝึกหัดได้ที่
ลิงค์ https://sites.google.com/site/themostatenstru/baeb-fukhad-chdchey
Tuesday, February 24, 2015
Tuesday, February 17, 2015
เทอร์โมไดนามิกส์คลาสสิกส์กับ เทอร์โมไดนามิกส์เชิงสถิติ
เทอร์โมไดนามิกส์คลาสสิกส์ อธิบายปรากฏการณ์ได้โดยไม่ต้องพิจารณาคุณสมบัติอนุภาคแต่ละตัว ขณะที่เทอร์โมไดนามิกส์เชิงสถิติใช้ค่าเฉลี่ยพฤติกรรมของกลุมอนุภาคขนาดใหญ่ในการอธิบาย เช่นความดัน
Entropy (S)
ปริมาณที่วัดความไร้ระเบียบ เป็นตัวแปรสถานะ (คล้ายกับ U, P, V และ T)
คำว่าเอนโทรปี๊ ใช้ครั้งแรกโดย Rudolf Clausius ในปี 1865
ถ้าความร้อน เข้ามาในระบบที่อุณหภูมิสัมบูรณ์คงที่แล้ว การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี๊ของระบบจะเป็น
A S = Q/T (๋J/K)
สมการนี้ถูกต้องตราบเท่าที่อุณหภูมิยังคงที่
คำว่าเอนโทรปี๊ ใช้ครั้งแรกโดย Rudolf Clausius ในปี 1865
ถ้าความร้อน เข้ามาในระบบที่อุณหภูมิสัมบูรณ์คงที่แล้ว การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี๊ของระบบจะเป็น
A S = Q/T (๋J/K)
สมการนี้ถูกต้องตราบเท่าที่อุณหภูมิยังคงที่
Subscribe to:
Posts (Atom)