เนื่องจากไม่สามารถแสดงสูตร สมการได้ให้ดาวโหลดจากลิงค์
แบบฝึกหัด A เมื่อมีแกสที่เป็นส่วนผสมของออกซิเจนกับฮีเลี่ยม ข้อความตามข้อใดถูกต้อง
a)โมเลกุลของฮีเลี่ยมจะเคลื่อนที่เร็วกว่าโมเลกุลของออกซิเจนโดยเฉลี่ย
b) โมเลกุลของแกสทั้งสองจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากัน
c) โดยเฉลี่ยโมเลกุลของออกซิเจนเคลื่อนที่เร็วกว่า
d) พลังงานจลน์ของฮีเลี่ยมจะมากกว่าของออกซิเจน
e) ที่กล่าวมาไม่มีข้อใดถูกต้อง
b) โมเลกุลของแกสทั้งสองจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วเท่ากัน
c) โดยเฉลี่ยโมเลกุลของออกซิเจนเคลื่อนที่เร็วกว่า
d) พลังงานจลน์ของฮีเลี่ยมจะมากกว่าของออกซิเจน
e) ที่กล่าวมาไม่มีข้อใดถูกต้อง
สมการ 
สมการข้างบนนี้บอกให้เราทราบว่าพลังงานจลน์เฉลี่ยแบบเคลื่อนย้าย (Translational Kinetic Energy) ในการเคลื่อนที่แบบสุ่ม (Random Motion) ในไอเดียลแกสเป็นปฏิภาคตรงกับอุณหภูมิสมบูรณ์ของแกส นั่นคือโดยเฉลี่ย ยิ่งมีอุณหภูมิสูงโมเลกุลก็ยิ่งเคลื่อนที่เร็วขึ้น นอกจากนี้ตามสมการนี้ยังสามารถประยุกต์ใช้กับของเหลวและของแข็งได้

สมการข้างบนนี้บอกให้เราทราบว่าพลังงานจลน์เฉลี่ยแบบเคลื่อนย้าย (Translational Kinetic Energy) ในการเคลื่อนที่แบบสุ่ม (Random Motion) ในไอเดียลแกสเป็นปฏิภาคตรงกับอุณหภูมิสมบูรณ์ของแกส นั่นคือโดยเฉลี่ย ยิ่งมีอุณหภูมิสูงโมเลกุลก็ยิ่งเคลื่อนที่เร็วขึ้น นอกจากนี้ตามสมการนี้ยังสามารถประยุกต์ใช้กับของเหลวและของแข็งได้
การหาค่าความเร็วเฉลียของโมเลกุลยังใช้ได้กับเซลล์สิ่งมีชีวิตที่
นอกจากนี้ยังใช้สมการข้างบนคำนวณหาว่าโมเลกุลเคลื่อนที่เร็วเท่าใด จากสมการจะเห็นว่าใช้ค่าความเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลยกกำลังสอง
ดังนั้น ค่ารากที่สองของค่าเฉลี่ยหรือ
หรือเรียกว่าค่าอัตราเร็ว Root mean square


ตัวอย่าง ให้คำนวณหาอัตราเร็ว rms ของโมเลกุลอากาศ
O2 และ N2
วิธีทำ มวลของ 1 โมเลกุลของ O2 (มวลโมเลกุล = 32 u) มวล 1โมเลกุลของ N2 (มวลโมเลกุล = 28 u)
m(O2) = (32)(1.66x10-27kg) = 5.3 x 10-26kg
ดังนั้น สำหรับออกซิเจน
=

วิธีทำ มวลของ 1 โมเลกุลของ O2 (มวลโมเลกุล = 32 u) มวล 1โมเลกุลของ N2 (มวลโมเลกุล = 28 u)
m(O2) = (32)(1.66x10-27kg) = 5.3 x 10-26kg
ดังนั้น สำหรับออกซิเจน



สำหรับไนโตรเจน
จะได้ 

ข้อสังเกตคือ
อัตราเร็ว
เป็นขนาดของความเร็ว
ส่วนความเร็วของโมเลกุลมีค่าเฉลี่ยเป็นศูนย์

แบบฝึกหัด B
อัตราเร็วปกติของโมเลกุลอากาศที่อุณหภูมิห้อง
ตามข้อใดถูกต้อง?
a) เกือบหยุดนิ่ง ( 10 km/h) b) อยู่ในระดับ 10km/h
c) อยู่ในระดับ 100km/h d) อยู่ในระดับ 1000km/h
e) เกือบเท่าอัตราเร็วแสง

a) เกือบหยุดนิ่ง ( 10 km/h) b) อยู่ในระดับ 10km/h
c) อยู่ในระดับ 100km/h d) อยู่ในระดับ 1000km/h
e) เกือบเท่าอัตราเร็วแสง
แบบฝึกหัดC
ถ้าเราเพิ่มความดันแกสเป็นสองเท่าขณะที่ทำให้ความดันและจำนวนโมลคงที่ อัตราเร็วเฉลีย
ของโมเลกุลจะเป็นไปตามข้อใด
a) เพิ่มเป็นสองเท่า b) เพิ่มขึ้น 4 เท่า c) เพิ่มขึ้นตาม
d) ครึ่งหนึ่ง e) 1 ใน 4

a) เพิ่มเป็นสองเท่า b) เพิ่มขึ้น 4 เท่า c) เพิ่มขึ้นตาม

แบบฝึกหัด D
จะต้องให้อุณหภูมิสัมบูรณ์เปลี่ยนไปด้วยแฟคเตอร์เท่าใด
ที่จะทำให้อัตราเร็วเฉลี่ย
เพิ่มเป็น 2 เท่า
a)
b)
2 c)
2
d) 4 e)
16

a)


ตัวอย่าง จากถังเก็บแกสฮีเลี่ยม
เพื่อนำไปเติมให้กับลูกโป่ง หลังจากเติมแกสให้ลูกโป่งแต่ละลูก จำนวนอะตอมฮีเลี่ยมที่เหลือในถังลดลง
ในการนี้จะส่งผลอย่างไรต่ออัตราเร็ว rms ของโมเลกุลของแกสที่ยังคงอยู่ในถัง
คำตอบ จากอัตราเร็ว rms =
ดังนั้น เฉพาะอุณหภูมิที่ส่งผลต่อแกส ไม่ใช่ความดัน P หรือ
จำนวนโมล n ถ้าถังเก็บยังคงมีอุณหภูมิคงที่ แล้วอัตราเร็ว rms
ก็จะยังคงที่แม้ว่าความดันในถังแกสจะลดลงก็ตาม
คำตอบ จากอัตราเร็ว rms =

ตัวอย่าง เพื่อเป็นการยืนยันว่าอัตราเร็วเฉลีย
แตกต่างจากอัตราเร็ว rms สมมุติว่ามีอนุภาค 8 อนุภาคที่มีอัตราเร็ว 1.0, 6.0, 4.0, 2.0, 6.0, 3.0, 2.0, 5.0 ตามลำดับ ให้คำนวณหา a) อัตราเร็วเฉลี่ย (ตอบ 3.6
m/s) b) อัตราเร็ว rms (ตอบ 4.0 m/s)
No comments:
Post a Comment